THE BASIC PRINCIPLES OF สังคมผู้สูงอายุ

The Basic Principles Of สังคมผู้สูงอายุ

The Basic Principles Of สังคมผู้สูงอายุ

Blog Article

อุตสาหกรรมยานยนต์พร้อมจ้างผู้สูงวัย

-ดัชนีพฤฒพลังผู้สูงอายุไทย โดยสำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม

I've read the Privacy Observe and consent to my particular details becoming processed, for the extent needed, to post my remark for moderation. I also consent to having my identify printed.

“ในประเทศไทย เราไม่มีกระบวนการช่วยเหลือผู้สูงอายุในทางอื่นมากนัก การมีลูกจึงเท่ากับการมีหลักประกันของคุณภาพชีวิตในยามสูงวัย ในด้านรายได้ ผู้สูงอายุที่ไม่ได้ทำงานแล้วและมีลูกก็ยังมีลูกให้พึ่งพาได้ ในด้านสุขภาพ ผู้สูงอายุที่มีลูกก็อาจมีสุขภาพดีกว่าคนไม่มี เพราะมีคนคอยดูแล และพาไปโรงพยาบาล และสุดท้าย ในด้านสังคม การมีลูกยังทำให้ผู้สูงอายุรู้สึกยังมีส่วนร่วมในสังคม ทำให้รู้จักเพื่อนบ้านที่มีลูกเล่นด้วยกันหรือครอบครัวของเพื่อนลูก การมีลูกจึงเป็นปัจจัยสำคัญของความสุข ผิดกับโลกตะวันตกที่ผู้สูงอายุยังพอมีรายได้ พอดูแลตัวเองได้ หรือไม่ก็ได้รับสวัสดิการรัฐโดยไม่ต้องพึ่งบุตรหลาน การมีหรือไม่มีลูกจึงไม่ใช่เงื่อนไขของความสุขในชีวิต” รศ.

โครงสร้างประชากรที่เปลี่ยนไป โดยจำนวนเด็กและแรงงานจะลดลงอย่างต่อเนื่อง พร้อมกับจำนวนประชากรสูงอายุที่เพิ่มขึ้นอย่างมาก ประกอบกับปัญหาโดยรวมของไทย คือ คนส่วนใหญ่มีเงินไม่เพียงพอในการเกษียณและใช้จ่ายในช่วงบั้นปลายชีวิต รวมทั้งยังไม่มีการเตรียมความพร้อม ทำให้ประเทศต้องเพิ่มงบประมาณเพื่อดูแลกลุ่มนี้

ข้อมูลอ้างอิงประชากร ศัพทานุกรมการวิจัยทางประชากรและสังคม

- ศูนย์พัฒนาการจัดสวัสดิการสังคมผู้สูงอายุภูเก็ต

- ศูนย์การเรียนรู้และฝึกอบรมด้านผู้สูงอายุ จังหวัดชลบุรี

บทบาทหน้าที่ของลูกหลานจึงจำเป็นสำหรับสังคมผู้สูงอายุไทย นอกจากจะเป็นการแสดงความกตัญญูกตเวทีของคนรุ่นลูกรุ่นหลานแล้ว รายได้ของบุตรยังแบ่งเบาภาระค่าใช้จ่ายในการดูแลตัวเองของคนรุ่นพ่อแม่ได้ด้วย ที่สำคัญคือ รายได้เหล่านี้จะช่วยคลายความกังวลใจให้แก่ผู้อาวุโสในครอบครัว และย้ำว่าพวกท่านยังมีตัวตนในบ้าน มีลูกหลานคอยเอาใจใส่ มีชุมชนเล็ก ๆ ในบ้าน โดยมีท่านเป็นผู้อาวุโสในครอบครัวหรือตระกูล ซึ่งเป็นปัจจัยหนึ่งของสูตรความสุขตามความหมายเชิงเศรษฐศาสตร์

สำหรับผู้สูงวัยในอนาคตซึ่งหมายถึงประชากรวัยเด็กและวัยทำงานปัจจุบัน  รศ.ดร.นพพล แนะว่าควรเตรียมตัวให้พร้อม ทั้งสุขภาพร่างกายตนเอง ความมั่นคงทางเศรษฐกิจ และเครือข่ายทางสังคม เพื่อการพึ่งตนเองให้มากที่สุด

ช่องว่างและการเติบโตของตลาดผู้สูงอายุในประเทศ

ทั้งนี้ ความต้องการของประชากรสูงอายุ สังคมผู้สูงอายุ ได้แก่ ความมั่นคงทางการเงินและความปลอดภัยส่วนบุคคล สุขภาพจิตที่ดี ระบบการรักษาพยาบาลที่แข็งแกร่งและการตระหนักรู้ในตนเอง ถึงแม้ความต้องการเหล่านี้จะเป็นความต้องการพื้นฐาน แต่ก็ถือเป็นเรื่องจำเป็นที่ลูกค้ากลุ่มนี้ควรได้รับคำแนะนำและการนำเสนอโซลูชันที่เฉพาะเจาะจง ซึ่งการตอบสนองและการคาดการณ์พฤติกรรมและรูปแบบการใช้จ่ายที่เปลี่ยนไปของผู้สูงอายุ บ่งชี้ให้เห็นถึงความจำเป็นที่จะต้องเปลี่ยนจากโซลูชันแบบดั้งเดิมเป็นโซลูชันแบบใหม่ที่เน้นนวัตกรรมที่ล้ำสมัยอีกด้วย  

งานบริหารทรัพยากรบุคคลและบริหารทั่วไป

โคโค่แลมป์ แก้ปัญหาลูกเต่าหลงทาง นวัตกรรมพิทักษ์ชีวิตลูกเต่าทะเล จากนิสิตจุฬาฯ

Report this page